1. |
ถ้าคีย์ประกอบไปด้วยแอททริบิวจำนวนหนึ่งซึ่งเท่ากับ
n
แล้วข้อมูลในแต่ะแถวที่ประกอบไปด้วยแอททริบิวเหล่านี้จะมีความแตกต่างกันอย่างน้อยที่แอททริบิว
x ตัว ถ้า n = 5 แล้ว x
เท่ากับข้อใด |
|
ก. n-4
ข. n-3
ค. n-2
ง. n-1 |
|
2. |
จากความสัมพันธ์
R ต่อไปนี้ พิจารณาคำถามข้อ
2.1, 2.2, 2.3
และหาค่าความจริงของคำถามทั้งสามข้อ
Attribute1 |
Attribute2 |
Attribute3 |
A11 |
B11 |
C11 |
A12 |
B11 |
C12 |
A13 |
B12 |
C11 |
2.1 A
สามารถเป็น candidate key ของ R
ได้หรือไม่
2.2 B สามารถเป็น candidate key ของ R
ได้หรือไม่
2.3 C สามารถเป็น candidate key ของ R
ได้หรือไม่
|
|
ก.
ได้, ไม่ได้, ได้
ข. ได้,
ได้, ได้
ค. ได้,
ไม่ได้, ไม่ได้
ง. ไม่ได้,
ได้, ไม่ได้
(d) Is it possible that BC is a
candidate key of R?
(e) Is it possible that AB is a candidate key of R?
|
|
3. |
จากความสัมพันธ์ในข้อ
2
จงหาค่าความจริงของคำถามข้อ
3.1 และ 3.2
3.1 BC สามารถเป็น candidate key ของ R
ได้หรือไม่
3.2 AB สามารถเป็น candidate key ของ R
ได้หรือไม่ |
|
ก.
ไม่ได้, ไม่ได้
ข. ไม่ได้,
ได้
ค. ได้,
ไม่ได้
ง. ได้,
ได้ |
|
4. |
Projection คือ
การกระทำทางคณิตศาสตร์บนความสัมพันธ์
(Relational Algebra)
ที่เลือกข้อมูลเฉพาะคอลัมน์ขึ้นมาแสดง
ส่วน Selection คือ
การเลือกแแอททริบิวขึ้นมาแสดง
ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง |
|
ก.
คำกล่าวเกี่ยวกับ Projection
เป็นจริง
ส่วนคำกล่าวเกี่ยวกับ Selection
เป็นเท็จ
ข.
คำกล่าวเกี่ยวกับ Projection
เป็นจริง
ส่วนคำกล่าวเกี่ยวกับ Selection
เป็นจริง
ค.
คำกล่าวเกี่ยวกับ Projection
เป็นเท็จ
ส่วนคำกล่าวเกี่ยวกับ Selection
เป็นจริง์
ง.
คำกล่าวเกี่ยวกับ Projection
เป็นเท็จ
ส่วนคำกล่าวเกี่ยวกับ Selection
เป็นเท็จ |
|
5. |
ข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็นความจริงเกี่ยวกับการกระทำทางคณิตศาสตร์บนความสัมพันธ์ |
|
ก.
Difference
จะให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นจำนวนแถวทั้งหมดในความสัมพันธ์แรกที่ไม่อยู๋ในความสัมพันธ์ที่สอง
ข. Theta-join
จะให้ผลลัพธ์จากการ join
กันระหว่างแถวหนึ่งในความสัมพันธ์แรกและอีกแถวหนึ่งในความสัมพันธ์ที่สอง
ค. Projection
จะให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นคอลัมน์เพียงหนึ่ง
หรือมากกว่า
ง. Selection
จะให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นแถวหนึ่ง
หรือมากกว่า |
|
6. |
ข้อใดต่อไปนี้เป็นความจริง |
|
ก.
ประเภทของการ Join มี equi-join แะ
natureal join เท่านั้น
ข.
ผลลัพธ์ของ Cartesian product
จากความสัมพันธ์ A และ B
มีค่ากับ A U B
ค. Natural join
ของความสัมพันธ์ A และ B คือ
การทำ Projection
บนผลลัพธ์ของการทำ Selection จาก
Cartesian Product
ง.
ไม่มีข้อใดถูก |
|
7. |
ผลลัพธ์จากการกระทำในข้อใดจะให้ผลลัพธ์เป็นจำนวนแถวที่มากกว่าความสัมพันธ์ต้นเสมอ |
|
ก.
A B
ข. A
B
ค. A
B
ง. A
B |
|
8. |
เมื่อใช้
Project กระทำบนความสัมพันธ์ R
แล้วจะได้ผลลัพธ์ดังข้อใด |
|
ก.
คอลัมน์ของความสัมพันธ์ R
ที่ตัดแถวที่ซ้ำกันออกไปแล้ว
ข.
คอลัมน์ของความสัมพันธ์ R
ที่ไม่ได้ตัดแถวที่ซ้ำกันออกไป
ค.
แถวของความสัมพันธ์ R
ที่ตัดคอลัมน์ที่ซ้ำกันออกไปแล้ว
ง.
แถวของความสัมพันธ์ R
ที่ไม่ได้ตัดคอลัมน์ที่ซ้ำกันออกไปแล้ว |
|
9. |
การกระทำในข้อใด
ไม่จำเป็นต้องอาศัยความสัมพันธ์ที่มีจำนวนแอททริบิวเท่ากัน |
|
ก.
intersection
ข. difference
ค. division
ง. union |
|
10. |
จากความสัมพันธ์ต่อไปนี้
เมื่อต้องการแสดงหมายเลขสินค้า
(part numbers) ที่ขายโดยผู้ขาย (supplier)
หมายเลข 23
สามารถเขียนในรูป Relational Algebra
ได้ดังข้อใด
- Supplier (SNumber, SName,
Status, City)
- Part (PNumber, PName,
Color, Weight, City)
- Job (JNumber, JName,
City)
- SPJ (SNumber, PNumber,
JNumber, Quantity)
|
|
ก.
PNumber
( SNumber=23 (Supplier) )
ข.
PNumber
( SNumber=23 (SPJ) )
ค.
PNumber
( SNumber=23 (SPJ) )
ง.
PNumber
( SNumber=23 (Supplier) ) |
|
11. |
จากความสัมพันธ์ในข้อ
8 เมื่อต้องการแสดง ผู้ขาย
(Supplier)
ที่อยู่ในเชียงใหม่ที่ขาย
สินค้า (Part)ให้แก่
รายการสั่งซื้อ (job number) ที่ 65 |
|
ก.
SNumber
( City=ChiangMai (Supplier) )
SNumber
( JNumber=65
(SPJ) )
ข. SNumber
( City= ChiangMai (Supplier) )
SNumber
( JNumber=65
(SPJ) )
ค. SNumber
( City= ChiangMai (Supplier) )
SNumber
( JNumber=65
(SPJ) )
ง. SNumber
( City= ChiangMai (Supplier) )
SNumber
( JNumber=65
(SPJ) ) |
|
12. |
การกระทำทางคณิตศาสตร์บนความสัมพันธ์คู่ใดต่อไปนี้สามารถกำจัดความซ้ำซ้อนของผลลัพธ์ได้ |
|
ก.
Intersection, Difference
ข. Projection, Union
ค. Union, Join
ง. ข้อ ข
และ ค |
|
13. |
คำสั่ง
Assertion
ต้องใช้ควบคู่กับคำสั่งใด |
|
ก.
CREATE
ข. ALTER
ค. CHECK
ง. ข้อ ก
และ ค |
|
14. |
พิจารณาความสัมพันธ์
R และ S ผลลัพธ์จาก R ¸ S
เป็นดังข้อใด
R |
A |
B |
|
S |
B |
|
X |
1 |
|
|
1 |
|
X |
2 |
|
|
2 |
|
X |
3 |
|
|
|
|
Y |
1 |
|
|
|
|
Z |
1 |
|
|
|
|
W |
1 |
|
|
|
|
W |
3 |
|
|
|
|
W |
4 |
|
|
|
|
W |
6 |
|
|
|
|
V |
1 |
|
|
|
|
V |
2 |
|
|
|
|
|
.
|
|
15. |
การค้นหาหมายเลขบัญชีของลูกค้าธนาคารที่มียอดเงินในบัญชีมากกว่า
100,000 บาท
สามารถเขียนในรูปของ Relational
Calculus ได้ดังข้อใด |
|
ก.
{ t | s
account_detail( t[ account_no ] = s[ account_no ]
s[ amount ] > 100,000 ) }
ข. { t |
s account_detail( t[ account_no ]
s[ account_no ]
s[ amount ] > 100,000 ) }
ค. { t |
s account_detail( t[ account_no
] = s[ account_no ] s[ amount ]
> 100,000 ) }
ง. { t |
s account_detail( t[ account_no ]
s[ account_no ]
s[
amount ] > 100,000 ) } |
|
16. |
พิจารณาความสัมพันธ์
R และ S เมื่อ R
S = แล้วข้อใดเป็นจริง |
|
ก.
ผลลัพธ์จาก R x S ไม่ต้อง Rename
ข.
ผลลัพธ์จาก R ¸ S
เท่ากับ 
ค.
ผลลัพธ์จาก R - S
จะมีจำนวนแถวน้อยกว่า R
ง.
ไม่มีข้อใดถูก |
|
17. |
พิจารณาความสัมพันธ์
Customer(cname,cid)
ซึ่งมีจำนวนแถวทั้งหมด 50
แถว ถ้า cid ไม่ซ้ำกันเลย
แต่มีลูกค้า 7 คนที่มีชื่อ สมชาย
เหมือนกัน แล้วการทำ Relational
Algebra
ดังต่อไปนี้จะให้ผลลัพธ์เท่ากับข้อใด
name
= 'สมขาย'(Customer) |
|
ก.
1
ข. 6
ค. 50
ง.
ไม่มีข้อใดถูก |
|
18. |
คีย์รองจำเป็นจะต้องเป็นเอกลักษณ์หรือไม่ |
|
ก.
ไม่จำเป็นเนื่องจากคีย์หลักเป็นเอกลักษณ์อยู่แล้ว
ข.
จำเป็นเนื่องจากต้องใช้ในการระบุข้อมูลในความสัมพันธ์
ค.
ไม่จำเป็นเนื่องจากคีย์รองเป็นคีย์ที่ไม่มีความสำคัญในการระบุข้อมูลในความสัมพันธ์
ง.
จำเป็นเนื่องจากต้องใช้ประกอบกับคีย์หลักในการในระบุข้อมูลในความสัมพันธ์ |
|
19. |
จากความสัมพันธ์ต่อไปนี้
ถ้าต้องการค้นหาชื่อ (PartName),
สี (Color) และน้ำหนัก (Weight)
ของสินค้าที่มีสีน้ำเงิน
จะเขียนในรูป Relational Algebra
ได้ดังข้อใด
Customer (CustomerName, PartId)
Part (PartName, Color, Weight) |
|
ก.
colour( colour = blue(Part))
ข. colour = blue(Part)
ค. colour, cost, partId(Part)
ง. colour = blue(Part
Customer) |
|
20. |
จากความสัมพันธ์
R และ S ต่อไปนี้ Cartesian Product ของ R x S
จะมีจำนวนแถวมากกว่า S
แถวในข้อใดไม่ได้อยู่ใน R x S
R |
|
S |
A |
B |
|
C |
D |
E |
A1 |
1 |
|
A1 |
10 |
E1 |
A2 |
2 |
|
A2 |
10 |
E1 |
|
|
|
A2 |
20 |
E2 |
|
|
|
A3 |
10 |
E2 |
|
|
|
|
|